ORDER  


วิวัฒนาการชาประเทศไทย
         
            ชนเผ่าไทยและชนชนกลุ่มน้อยเช่น ขมุ ลัวะ ว้าและถิ่น ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของประเทศไทย รัฐฉานในเมียนมารื มรพลยุนานในประเทศจีนและรัฐอัสสัมในอินเดีย ชุมชนเหล่านี้ต่างเกี่ยวพันกับการปลุกต้นชาและผลิตเมี่ยง ชุมชนรุ้จักใช้ใบชาเพื่อเป็นสมุนไพรและบริโภคมานานแล้ว แต่การใช้ชาเป็นเครื่องดื่ม สันนิฐานว่าคงเริ่มต้นตั้งแต่ในสมัยสุทัย ซึ่งมีการขายแลกเปลี่ยนสินค้าและววัฒนธรรมกับจีนพบว่าได้มีการดื่มชากัน แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าชาถูกนำเข้ามาเมื่อใดและนำเข้ามาอย่างไร แต่จากจดหมายของท่านลาลูแบร์ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชปี พ.ศ. 2230 ได้กล่าวไว้อย่างละเอียดว่า “ชาวสยามดื่มน้ำชาสำหรับสบายใจและสนทนา
เพลิน ข้าพเจ้าหมายความ เฉพาะแต่ว่าชาวสยามในพระมหานครสยามเท่านั้น ที่ใช้ใบชาเป็นเครื่องดื่มโอชารส ใช่รู้จักกันทั่วไปตลอดพระราชอาณาจักรสยามก็หาได้ไม่” ทำให้ทราบว่าคนไทยรู้จักการดื่มชาแล้ว โดยนิยมชงชาเพื่อรับแขก การดื่มชาของคนไทยในสมัยนั้นดื่มแบบชาวจีนไม่ใส่ใจน้ำตาล นอกจากนี้ในสมัยก่อนการสะสมกาชาและถ้วยชาได้รับความนิยมอย่างยิ่ง ในบรรดาเหล่าขุนนางและเศรษฐีผู้มีอันจะกิน มีการศึกษา สะสม ประกวด ในหลายยุคหลายสมัยนับตั้งแต่สมัยอยุธยา กรุงธนบุรี รัตนโกสินทร์ แต่กาชาและถ้วยชาแต่เดิมเป็นของทำจากประเทศจีน จึงต้องมีการนำเข้ามาและใบชาน่าจะเป็นสินค้าที่นำเข้ามาพร้อมกับเครื่องเคลือบคือกาชาและถ้วยชาด้วย
            เมื่อมีชาวจีนอพยบมาตั้งถิ่นฐานทำมาหากินในประเทศไทยมากขึ้นความต้องการใบชามีมากขึ้น ทำให้ต้องนำ เข้าใบชาปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อมาพบว่าต้นเมี่ยงหรือต้นชาป่าสามารถผลิตเป็นชา ทดแทนการนำเข้าได้จึงเริ่มมีการตั้งโรงผลิตชาจีนขนาดกลางเล็ก ๆ ขึ้นในพื้นที่ซึ่งมีต้นเมี่ยงอยู่ ในปีราว พ.ศ. 2480 คุณประสิทธ์และคุณประธานพุ่มชูศรีสองพี่น้องผู้ก่อตั้งบริษัทชาระมิงค์ริเริ่มบุกเบิกอุตสาหกรรมชาโดยตั้ง
โรงงานชาขนาดเล็กที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่พร้อมแนะนำให้ชาวบ้านตัดแต่งต้นเมี่ยง เพื่อให้สะดวกต่อการเก็บเกี่ยวและกระตุ้นให้เกิดยอดชาจำนวนมาก ต่อมาในปี พ.ศ. 2508 ได้มีการปลูกสวนชาของตนเองโดยนำเมล็ดชาพื้นเมืองมาเพาะปลูกที่แก่งพันท้าว อำเภอเชียงดาว และที่บ้านช้าง ตำบลสันมหาพล อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียง ในปี พ.ศ.2508ได้มีการผลิตมากขึ้น จึงได้รับอณุญาตจากกรมป่าไม้เช่าพื้นที่บ้านปางห้วยตาก ตำบลอินทขิน อำเภอแม่แตง ในนามบริษัทชาระมิงค์บางส่วน ชาที่ผลิตส่วนใหญ่เป็ชาฝรั่งต่อมาในปี ปี พ.ศ.2529 บริษัทลีเวอร์บราเธอร์ (ประเทศไทย)จำกัดได้มาลงทุนซื้อกิจกรรมจากชาวระมิงค์เพื่อผลิตชาฝร่ง
ขายในตลาดประเทศไทย บริษัทชาสยามได้ส่งเสริมให้
การเกษตรกรปลูกชาใรรูปแบบของสวนชาแบบใหม่ มีการคัดเลือกและทดสอบชาอัสสัมพันธุ์ดีส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกและ
รับซื้อยอดชาเพื่อผลิตเป็นชาฝรั่งส่บริษัทลีเวอร์บราเธอร์ เพื่อผลิตชาฝร่งยี่ห้อ ลิปตัน ปัจจุบันบริษัทหยุดการซื้อชาจากชาวสวนชา โดยนำเข้าชาฝร่งจากต่างประเทศโดยตรง เนื่องจากการลดภาษีตามกรอบองค์กรการค้าโลก





| ประวัติศูนย์ชาเจ๊ะเหม | บุคลากร | ประโยชน์ของชา | ผลิตภัณฑ์ | ผลิตภัณฑ์ของตำบล |
| ขั้นตอนการผลิต | สถานที่ผลิต | สถานที่ท่องเที่ยว | OTOP | สาระน่ารู้เกี่ยวกับชา | ผู้จัดท
 |


                
| 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |



        

         
     

แนะนำเว็บไซด์ อบต

       อบต. ทรายขาว
่       อบต. เกาะยอ
       อบต.ยะลา
       อบต.นาประดู่
       อบต.บาเจาะ
       อบต. ยะหา
       อบต. บาโร๊ะ
       อบต. ยาบ
       อบต. ละหาร
       อบต. ทุงขมิ้น

   

           ข่าวช่องต่างๆ                
        ช่อง 7 สี
        ไทยทีวีสีช่อง 3
        ททบ 5
        ช่อง 9 อสมท
        กองทับบกช่อง 11


   

  
 


       


       

 

  ประวัติศูนย์ชาเจ๊ะเหม
   บุคลากร
  ประโยชน์ของชา
   ผลิตภัณฑ์  
   ผลิตภัณฑ์ของตำบล
   ขั้นตอนการผลิต
   สถานที่ผลิต
   สถานที่ท่องเที่ยว
   OTOP
   สาระน่ารู้เกี่ยวกับชา
     การค้นพบชา
    ชื่อของชา
     วิวัฒนาการชาประเทศไทย
     แหล่งกำเนิดต้นชา
     แหล่งผลิตชาโลก
     ประเทศผู้นำเข้า-นำออก
     ประเทศที่บริโภคชา
     ชาเขียวกับสุขภาพ
   ผู้จัดท


    

   
    
           

   

สนใจติดต่อ
ศูนย์ชาบ้านเจ๊ะเหม

บ้านเจ๊ะเหม  หมู่ที่ 3  ต.แว้ง  
อ.แว้ง  จ.นราธิวาส  94160
โทร. 0-7365-9144 , 0-9599-568

จัดทำเว็บไซต์  โดยนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Free Web Hosting